ตัวจริงของชายคนนี้ คือ นายอัลเฟรด ซานเชส (Alfred Sanchez) ซึ่งสูญเสียขาทั้งสองข้างจากโรคประจำตัวเมื่อ 20 ปีก่อน แต่ความพิการไม่ใช่ปัญหาเลยแม้แต่น้อย เพราะหัวใจที่ต้องการช่วยเหลือผู้อื่นของเขานั้นยังคงเต็มร้อยเสมอ
เป็นเวลากว่า 2 ปีแล้ว ที่เขาตื่นนอนตั้งแต่เช้ามืด เพื่อบรรจุขนมขบเคี้ยว เครื่องดื่ม อาหารแห้ง รวมไปถึงของใช้อย่างเช่น ถุงเท้า ใส่กระเป๋า ก่อนจะขับสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้าคู่ใจออกไปตามท้องถนน เพื่อมอบให้กับคนไร้บ้านตามเส้นทาง สิ่งของส่วนใหญ่เขาใช้เงินส่วนตัวซื้อมาเอง ค่าใช้จ่ายตกประมาณ 80-140 ดอลลาร์ต่อเดือน และบางส่วนเขาได้รับบริจาคมาอีกที
สำหรับสาเหตุที่นายซานเชสยอมเหนื่อย และสละเงินส่วนตัว เพื่อช่วยคนไร้บ้านเหล่านั้น เพราะเขารู้สึกเห็นใจที่คนเหล่านั้น ไม่ค่อยได้รับการเหลียวแลจากสังคม หนำซ้ำยังถูกขับไล่ออกไปจากพื้นที่เป็นประจำ ซานเชสจึงไม่อาจทนดูอยู่เฉยๆ และทิ้งให้พวกเขาเผชิญความทุกข์เพียงลำพังได้ และตัดสินใจเริ่มภารกิจช่วยเหลือไร้คนไร้บ้านในฐานะของ “Snack man” นั่นเอง
ขอบคุณเนื้อหาจาก tanksgoodnews msn abc10
สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย เปิดหลักสูตร “Young SME” สร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ เน้นเชื่อมโยง Soft Power เสริมสร้างการเติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืน นายแสงชัย ธีรกุลวาณิช ประธานสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และประธานคณะกรรมการ หลักสูตร Young…
บุรินทร์เจอนี่ พาไปรู้จักกับแนวคิด Driving People’s Actions ของบริษัท ฮาคูโฮโด เฟิร์ส จำกัด และการรูปแบบการทำงานในองค์กรที่สอดแทรกความยั่งยืนเข้าไปในทุก ๆ กิจกรรมรอบตัว โดยคุณชุติมา วิริยะมหากุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร…
อธิบดีกรมสรรพสามิตรับรางวัล "ผู้นำองค์กรดิจิทัลดีเด่นแห่งปี" พร้อมอีก 2 รางวัล จากงาน DG Awards 2023 โดยสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2566 ดร.…
ฮาคูโฮโด เฟิร์ส ฉลองความสำเร็จครบรอบ 20 ปี เผยกลยุทธ์และทิศทางธุรกิจจากประสบการณ์และ ความสำเร็จที่เน้นแนวคิดขับเคลื่อนผลลัพธ์ของแบรนด์ ด้วยการสร้างพฤติกรรมกับกลุ่มเป้าหมายที่ตรงโจทย์ Driving People’s Actions คุณชุติมา วิริยะมหากุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท…
พลเอกเฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นประธานมอบใบประกาศนียบัตร หลักสูตรการบริหารความมั่นคงสำหรับผู้บริหารระดับสูง สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นที่ 4 แก่ผู้สำเร็จการอบรม 241 คน 27 มิถุนายน 2566, กรุงเทพ:…
ห่างหายไปนานสำหรับคอลัมน์ HiGen by Je Supaluck การกลับมาครั้งนี้มีเรื่องราวเกี่ยวกับสุขภาพที่อยากจะมาเล่าสู่กันฟัง "ผู้สูงวัย" น่าจะนับได้จากผู้มีอายุ 50 ขึ้นไป (วัยกลางคน) นั่นล่ะคือคนที่เริ่มเข้าสู่คนยุคสูงวัย (HiGen) โดยแท้ ไม่เว้นว่าเป็นหญิงหรือชายนับแต่คริสต์ศักราช…
This website uses cookies.